วันพุธที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2553

12/21/2010 M-Commerce

     
M-Commerce (Mobile Commerce) คือ การทำธุรกรรมซื้อขายสินค้าปละบริการโดยผ่านอุปกรณ์สื่อสารไร้สาย ซึ่งคือ โทรศัพท์เคลื่อนที่หรือโทรศัพท์มือถือนั่นเอง

ความสำคัญของ M-Commerce
-Ubiquity สามารถใช้งานได้ทุกที่ผ่านโทรศัพท์มือถือ
-Convenience ใช้งานได้สะดวกสบาย เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ง่าย
-Instant Connectivity สามารถเชื่อต่ออินเทอร์เน็ตได้ทันที
-Personalization สามารถปรับเปลี่ยนให้ตรงกับความต้องการของลูกค้าแต่ละรายได้
-Localization of products & services สามารถเข้าถึงและเก็บข้อมูลเป็นไฟล์ส่วนตัวได้

ปัจจัยขับเคลื่อน M-Commerce
-Widespread availability of mobile devices การที่มีคนใช้โทรศัพท์มือถือจำนวนเพิ่มมากขึ้น
-No need for a PC โทรศัพท์มือถือมีขนาดเล็กกว่า PC พกพาได้สะดวกและยังเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้เร็วกว่า PC อีกด้วย
-Handset culture วัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ต่อโทรศัพท์มือถือ
-Declining prices, increased functionalities ราคาของโทรศัพท์มือถือที่ถูกลง และฟังก์ชั่นที่เพิ่มขึ้น
-Improvement of bandwidth มี Bandwidth ที่ดีขึ้น เช่น เทคโนโลยี 3G
-Centrio chip ส่วนของชิปในโทรศัพท์มือถือพัฒนาขึ้น ประหยัดไฟและปลอดภัยมากขึ้น
-Availability of internet access in automobile  การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตทำได้ง่ายขึ้น
-The mobile workforce มีการทำงานแบบไม่อยู่กับที่มากขึ้น
-Networks มีเครือข่ายในการรับรองการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตมากขึ้น
-Vendor's push การผลักดันจากผู้ขาย เนื่องจากปัจจุบันรายได้ของบริษัทให้บริการโทรศัพท์มือถือที่เกิดจากค่าโทรศัพท์ไม่สามารถแข่งขันได้อีก จึงสร้างรายได้ใหม่ขึ้นจากการขาย content ต่างๆบนมือถือนั่นเอง

ตัวอย่างการทำ M-Commerce
-Mobile shopping
-Mobile Banking
-Information based service
-Location based service
-Mobile auction
-Mobile access to corporate intranet
-Mobile travel information and booking
-Mobile Marketing and advertising

Infrastructure ที่สำคัญ
-WAP (Wireless Application Protocol)  เป็นมาตรฐานในการสื่อสารแบบไร้สาย เพื่อให้สามารถเชื่อมต่อกันได้ มี Protocol ที่สื่อสารกันได้
-Mark-up Languages เป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมบนโทรศัพท์มือถือโดยเฉพาะ เช่น WML, XHTML
-Mobile Development เช่น .NET compact, JAVA ME, Python
-Mobile Emulators ซอฟท์แวร์ที่ทำให้โปรแกรมจากคอมพิวเตอร์สามารถใช้ได้กับอุปกรณ์ไร้สาย
-Microbrowsers เช่น Android, Safari, IE Mobile, Firefox Mobile
-HTML5 เป็น protocol รูปแบบใหม่ที่นำมาใช้กับโทรศัพท์มือถือ เป็นการจัดโครงสร้างและการแสดงผลของเนื้อหาสำหรับ www เพิ่มในส่วนของพวก interactive ต่างๆ เช่น การดู Flash player บนหน้าเว็บไซต์ ซึ่งผู้ใช้จะไม่ต้องอัพเดทเวอร์ชั่นของโปรแกรมใหม่ด้วยตัวเอง แต่สามารถอัพเดทผ่านการเข้าหน้าเว็บไซต์ของผู้พัฒนาเว็บไซต์ได้เลย

เทคโนโลยีเบื้องต้น
-3G ใช้กับการใช้อินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือ ทำให้สามารถดาวน์โหลด content ปริมาณมากได้เร็วยิ่งขึ้นWiMax เครือข่าย -Wireless ขนาดใหญ่ ครอบคลุมทั้งบริเวณ
-RFID นำ RFID มาอยู่ในโทรศัพท์มือถือ ทำให้สามารถค้นหาติดตามได้ง่ายขึ้น

โมเดลธุรกิจ  M-Commerce
-Usage fee model (subscription based/usage based)
-Shopping Business Models
-Marketing business Models
-Improved Efficiency Models
-Advertising Business Models (Flat fees/Traffic-based fees)
-Revenue-Sharing Business Models

ข้อจำกัด
-Insufficient bandwidth
-Security standards
-Power Consumption
-Transmission Interferences
-GPS Accuracy
-Potential Health Hazards
-Human Interface with Device
-Small Screens
-Reduced memory
-Limited Bandwidth
-Restricted input capabilities
-Cost -- it’s readily available; why pay for it?
-Trust

"ความรักก็เหมือน 3G รู้ว่ามี แต่ยังไม่มา"
(คริ คริ)

วันอังคารที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2553

E-business and E-commerce

          ปัจจุบันเทคโนโลยีโดยเฉพาะอินเทอร์เน็ตมีความสำคัญจ่อการดำเนินธุรกิจมากขึ้น ดังนั้นรูปแบบการดำเนินธุรกิจแบบ E-business และ E-commerce จึงมีบทบาทอย่างมากต่อการดำเนินธุรกิจเพื่อให้สามารถแข่งขันกับคู๋แข่งได้


กรณีศึกษา:
Dell
        บริษัท Dell เป็นบริษัทขายคอมพิวเตอร์ที่ได้พัฒนาการใช้ระบบ E-commerce ผ่านเว็บไซต์ของบริษัทเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้มากขึ้น เป็นแบบ Customization ทำให้ Dell มีศักยภาพเหนือคู่แข่ง
E- bay
        อีเบย์เป็นเว็บไซต์ที่เป็นตัวกลางในการซื้อขายสินค้า โดยรายได้ของบริษัทมาจากการเก็บค่าพื้นที่ในการขายสินค้าผ่านทางเว็บไซต์ และมีการประมูลสินค้าต่างๆ ซึ่งทำให้ลูกค้าพอใจในการสินค้านั้นๆ มากขึ้นด้วย
Amazon
        อเมซอนเป็นเว็บไซต์ที่เริ่มจากการขายหนังสือเป็นหลัก แต่ปัจจุบันขยายธุรกิจไปสู่สินค้าอื่นๆด้วย เช่น ซีดี ดีวีดี โดยการดำเนินธุรกิจที่มีความได้เปรียบในเรื่องของ Long tail คือการที่ไม่ต้องใช้พื้นที่ในการเก็บสินค้าจริง จึงทำให้สามารถมีสินค้าที่หลากหลายได้มากกว่าร้านค้าที่มีหน้าร้าน

ประโยชน์ของ E-commerce
1.ระดับองค์กร ช่วยเพิ่มรายได้ให้กับองค์กร ขยายตลาดได้มากขึ้น สามารถดึงดูดลูกค้าได้มากขึ้น
2.ระดับลูกค้า  สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้มากขึ้น และ มีช่องทางในการเข้าถึงลูกค้าที่มากขึ้น
3.ระดับสังคม  ใส่ใจสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ช่วยลดโลกร้อน

ข้อจำกัดของ E-commerce
1.ข้อจำกัดด้านเทคโนโลยี เช่น เทคโนโลยีของผู้ใช้แต่ละคนไม่เท่ากัน จึงอาจเกิดปัญหากับการใช้งาน
2.ข้อจำกัดด้านอื่นที่ไม่ใช่เทคโนโลยี  เช่น เรื่องของความปลอดภัยของข้อมูลของลูกค้า

รูปแบบของE-commerce ที่ใช้ประยุกต์กับการดำเนินธุรกิจ
-Social commerce (Social commerce/Social Shopping) คือการที่ลูกค้าคนหนึ่งไปแนะนำสินค้าต่อผ่านทางเว็บไซต์ต่างๆ
-Electronic catalogs เป็นการแสดงสินค้าในรูปแบบแคตตาล็อกผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัท
-E-Auction เป็นเว็บไซต์ประมูลสินค้า มักจะได้ราคาดีกว่าปกติ
-E-Classifieds เช่น half.com ไม่จำเป็นต้องประมูล
-Bartering & Negotiations เป็นเว็บไซต์ที่มีการแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างลูกค้ากัน
-Electronic storefront ร้าค้าที่มีทั้งหน้าร้านจริงและมีเว็บไซต์ด้วย
-Customer service online เป็นการให้บริการลูกค้าผ่านทางเว็บไซต์ เช่น พวก FAQS
-Electronic malls คือการออกแบบเว็บไซต์ให้เสมือนเป็นการซื้อของในห้างร้านจริงๆ
-Online Job Market การสมัครงานออนไลน์
-Travel Service การให้บริการเกี่ยวกับการท่องเที่ยวบนเว็บไซต์
-E-Government การใช้ระบบอินเทอร์เน็ตติดต่อส่วนงานราชการ

วันพุธที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2553

12/07/2010 Information Technology Economics

Technology and Economic Trends and the Productivity Paradox
Opening Case: California State Automobile Association
ปัญหา – IT infrastructure ใกล้จะถึงจุดอิ่มตัว คู่ค้าไม่สามารถสนับสนุนระบบได้ อีกทั้งยังไม่สามารถปรับปรุงระบบได้อีกด้วย แนวทางแก้ไข – เปลี่ยนแทน server แบบเก่า โดยใช้ Web farms แทน
ผลลัพธ์ – ผลตอบแทน 7.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ภายในระยะเวลา 1 ปี มี ROI 493% สามารถส่งของให้ลูกค้าได้เร็วขึ้น ลดต้นทุนการให้บริการ ระบบความปลอดภัยสูงขึ้น
Moore’s Law
-คุณภาพของ Computer chip จะพัฒนาขึ้นกว่า 2 เท่าในทุกๆ 18 - 24 เดือน ในขณะที่มีต้นทุนเท่าเดิม
-องค์กรมีโอกาสในการซื้อสินค้าคุณภาพดีในราคาที่ถูก
-อัตราส่วนราคาต่อผลการดำเนินงานควรลดลงแบบ Exponential
-เมื่อเทคโนโลยีหนึ่งถึงจุดอิ่มตัวของก็จะมีการเปลี่ยนไปใช้เทคโนโลยีอื่นแทน
Productivity Paradox
Productivity Paradox คือการที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาสูงขึ้น ในขณะที่ประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีนั้นกลับไม่ได้เพิ่มสูงขึ้นเท่าที่ควร โดยมีสาเหตุดังนี้
-ไม่สามารถเห็น Productivity gain ได้ชัดเจน
-Productivity gain อาจถูกหักลบกับขาดทุนจากกิจกรรม IT อื่น
-Productivity gain อาจถูกหักลบกับต้นทุนค่าใช้จ่ายที่สูงมาก
-อาจใช้เวลานานกว่าจะเห็น Productivity gain ที่เกิดขึ้น
-ยังมีปัจจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ทำให้ Productivity gainไม่เป็นไปตามที่คาดไว้

Evaluating IT Investment
Why justify IT Investment?
-เป็นการเพิ่มแรงกดดันทางการเงินเพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
-IT ไม่ได้เป็นทางออกในการแก้ปัญหาบางปัญหา
-งบประมานในการลงทุนมีจำกัด ไม่สามารถลงทุนได้ทุกโครงการ
-การประกาศการลงทุนใน IT จะทำให้ราคาหุ้นปรับตัวสูงขึ้น
โครงการที่สามารถลงทุนได้โดยไม่ต้อง Justify
-โครงการที่ใช้เงินลงทุนน้อยมาก
-โครงการที่เป็น Infrastructure
-โครงการที่ถูกบังคับว่าต้องทำ
-โครงการที่มีข้อมูลในการตัดสินใจไม่เพียงพอ
The IT Justify Process
-วางฐานเครื่องมือในการวิเคราะห์ที่เหมาะสม
-เลือกมาตรวัดที่จะใช้
-ประเมินและบันทึกเปรียบเทียบต้นทุนและประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
-รวบรวมเอกสารและวิเคราะห์ทางเลือก รวมถึงการวิเคราะห์ความเสี่ยง
-ตัดสินใจว่าโครงการจะช่วยสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันให้กับองค์กรหรือไม่
-ไม่ประมาณต้นทุนค่าใช้จ่ายต่ำเกินไปและไม่ประมาณผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับสูงเกินไป
-แจ้งให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ
Difficulties in Measuring Productivity & Performance Gains
   Productivity & Performance Gains
    -ใช้มารตวัดไม่เหมาะสม
    -โครงการที่ใช้เวลานาน ทำให้วัดผลได้ยาก
    -ความสัมพันธ์ระหว่างการลงทุนใน ITและผลการดำเนินงานขององค์กรอาจทำได้ให้วัดผลได้ยาก
    Intangible Benefits
    -วัดผลเป็นตัวเงินได้ยาก
    -วัดผลในเชิงปริมาณได้ยาก
Revenue Models generated by IT&Web
-Sales
-Transaction fees
-Subscription fees
-Advertising fees
-Affiliate fees
Cost & Benefit Analysis
การวิเคราะห์เปรียบเทียบต้นทุนและประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับมี 2 ขั้นตอน
1.Identifying & estimating all cost and benefits
2.Expressing these costs and benefits in common units
Cost:
-Development costs
-Setup costs
-Operational costs
Benefits:
-Direct benefits
-Assessable indirect benefits
-Intangible benefits
Cost-Benefit Evaluation Techniques
-Net profit ดูกำไรก้อนใหญ่ แต่ไม่คำนึงถึงเงินลงทุนและช่วงเวลา
-Payback period ดูว่าคืนทุนเมื่อไร แต่ไม่สนใจ net profit ที่เกิดขึ้น
-Return on investment (ROI) ดูความสามารถในการทำกำไรเป็นสัดส่วนกับการลงทุน แต่ไม่คำนึงถึงมูลค่าของเงินตามเวลา
-Net present value (NPV) ดูความสามารถในการทำกำไรโดยคิดลดเป็นมูลค่าเงินในปัจจุบัน
-Internal rate of return (IRR) วัดความสามารถในการทำกำไรโดยเป็นเปอร์เซ็นต์ของผลตอบแทนซึ่งสามารถเปรียบเทียบกับอัตราดอกเบี้ยได้เลย เป็นการเลือกใช้อัตราคิดลดที่ทำให้ NPV เป็น 0

Advances Methods for Justifying IT Investment and Using IT Metrics
-Financial สนใจตัวเงิน เช่น NPV, ROI
-Multicriteria วิเคราะห์โดยสนใจผลกระทบที่เป็นตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน ทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ
-Ratio ใช้อัตราส่วนหลายๆอัตราในการวิเคราะห์
-Portfolio จัดทำแผนร่างหลายๆแผนเพื่อประกอบการตัดสินใจ

Economic Aspects of IT and Web-Based System
E-commerce เป็น  Web-based systems การใช้ Web-based ในการดำเนินงานจะสามารถช่วยลดต้นทุนในการดำเนินงานได้ Cost
Where costs of IT investment go?
ในบางองค์กรค่าใช้จ่ายไปอยู่ในบัญชี Overhead หรือไปอยู่ในบัญชีที่เรียกว่า chargeback โดยลงบัญชีที่ผู้ใช้ ตามการใช้งาน
Failure & Runaway Project
ทำ cost benefits analysis ไม่ถูกต้อง หรือ เกิดจาก Economic issues

Managerial Issues
1.Constant growth & change เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วดังนั้นจึงต้องพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงเสมอ
2.Shift from tangible to intangible benefits ไม่ควรสนใจผลประโยชน์ที่เป็นตัว
เงินเพียงอย่างเดียว แต่ควรสนใจด้านอื่นๆด้วย
3.Not a sure thing เทคโนโลยีที่องค์กรใช้อยู่นั้น อาจจะไม่เหมาะสมในอนาคต ดังนั้นจึง
ต้องมีการตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอถึงความเหมาะสมต่อองค์กร
4.Chargeback ใช้บัญชี
chargeback ในการสร้างแรงจูงใจต่อผู้ใช้
5.Risk 
พิจารณาถึงความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น
6.How to measure the value of IT investment? วัดผลโดยใช้มาตรวัดหลายๆแบบ
7.Who should conduct a justification? ให้หลายๆฝ่ายตัดสินใจร่วมกัน

วันพุธที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2553

11/30/2010 Outsourcing and Acquiring IT Application

Outsourcing, Offshoring, and IT as a Subsidiary
เหตุผลในการ Outsource
- ให้ความสนใจในธุรกิจหลักมากขึ้น
- ลดต้นทุน
- เพิ่มคุณภาพ
- เข้าสู่ตลาดได้เร็วขึ้น
- พัฒนานวัตกรรมได้เร็วขึ้น

ความเสี่ยงจากการ Outsource
- Shirking ผู้รับงานทำงานได้ไม่ดีที่ควร
- Poaching ผู้รับงานนำระบบไปใช้ร่วมกับลูกค้ารายอื่น
- Opportunistic repricing ผู้รับงานขอเพิ่มค่าใช้จ่ายนอกเหนือจากที่ตกลงไว้ในสัญญา

ต้นทุนที่แฝงไว้ในการ Outsource
- Benchmarking & analysis
- Investigating & contracting with vendor 
- Transmitting work & knowledge to outsourcer
- Ongoing staffing & management of outsourcing relationship
- Transitioning back to in-house  

กลยุทธ์สำหรับการบริหารความเสี่ยงในการ Outsource
- ทำความเข้าใจในโครงการของบริษัท
- แบ่งตัวโครงการออกเป็นส่วนย่อยๆ
- ให้รางวัลเป็นแรงจูงใจแก่ผู้รับงาน
- เซ็นสัญญาระยะสั้น
- ติดตามการทำงานของรับงาน เนื่องจากอาจมีการoutsource อีกต่อหนึ่งได้
- เลือก outsource ในส่วนที่ไม่ใช่ธุรกิจหลักของบริษัท

Acquiring and Developing Business Applications and Infrastructure
Step 1 -planning, identifying
Step 2 -creating an IT architecture
Step 3 -selecting an acquisition option
Step 4 -testing, installing
Step 5 -operations, maintenance & updating